วันพุธที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2556

บทที่ 9

การประยุกต์เทคโนโลยีเพื่อชีวิต

การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา

- 1 e-Learning ย่อมาจาก electronic (s) Learning เป็นการเรียนรู้ผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์
  -  e-leaning map
  -  on-line e-learning
  -  e-learning group
  -  e-comprehension
  -  e-illustration
  -  e-workgroup

 - 2 มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้
  - การเตรียมเนื้อหา
  - การออกแบบเนื้อหาประเภทต่างๆ
  
- 3 การออกแบบข้อคำถามสำหรับการประเมิน
  - การกระตุ้นหรือเร้าความสนใจ
  - การแจ้งวัตถุประสงค์
  - การทบทวนและกระตุ้น
  - การนำเสนอเนื้อหาและความรู้ใหม่
  - การแนะแนว
  - การกระตุ้นการตอบสนอง
  - การให้ข้อมูลป้อนกลับ
  - การทดสอบ
  - การส่งเสริมความจำ

 - 3 Vitual Classroom
 - 4 Mobile Technology


การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคม

 - การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานสาธารณสุข
 - การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
 -  การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม
 -  การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานบริการสังคม

การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับธุรกิจ

 - E-commerce
 - E-maketing
 - M-commerce

การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับภาครัฐ 

 - รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์



 






วันอังคารที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2556

บทที่ 10



แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
1. ระบบคอมพิวเตอร์
        ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ซึ่งในอนาคตคาดว่าจะมีแนวโน้มการใช้งาน ดังนี้
        -ฮาร์ดแวร์
        -ซอฟต์แวร์
        -คลาวด์คอมพิวติ้ง
2. ระบบสื่อสารโทรคมนาคม
        -เครือข่ายสังคมออนไลน์ หมายถึง เว็บไซต์ที่ให้บริการผู้ใช้ให้สามารถสร้างเว็บ โฮมเพจของตน เขียนเว็บบล็อก โพสต์รูปภาพ  วิดีโอ ฯลฯ
        -โซเชียลคอมเมิรซ์ คือ การใช้
เครือข่ายสังคมออนไลน์ในการค้าขาย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
3. แนวโน้มอื่นๆ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
        -แนวโน้มด้านข้อมูล
        -การวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจ
        -กรีนไอที
        -ความปลอดภัยและมาตรฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
        -สมาร์ทซิตี้
4. นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในอีก 5 ปี ข้างหน้า 
        -การสร้างพลังงานขึ้นเองเพื่อใช้ภายในบ้าน
        -มนุษย์จะใช้เสียงพูด ใบหน้าและดวงตาแทนรหัสผ่าน
        -มนุษย์สามารถใช้สมองสั่งงานแลปทอป และโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้
        -ทุกคนสามารถเข้าข้อมูลต่างๆ ได้ทุกทีทุกเวลา
        -คอมพิวเตอร์จะคัดกรองข้อมูลสําคัญให้สอดคล้องกับความต้องการและพฤติกรรมของผู้ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศกับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมในอนาคต
1. เทคโนโลยีสารสนเทศกับความรับผิดชอบต่อสังคม
        -ความรับผิดชอบต่อสังคมระดับบุคคล
        -ความรับผิดชอบต่อสังคมระดับองค์กร
2. เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม
        -เป้าหมายของกรีนไอที
        -ตัวอย่างของกรีนไอที
3. สภาพแวดล้อมที่ได้รับผลกระทบจากการใช้งานระบบไอที
        เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานอยู่นี้ ก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาพแวดล้อม ซึ่งเมื่อใช้งานอยู่ก็คงไม่รบกวนโลกมาก แต่พอเครื่องคอมพิวเตอร์ หมดอายุการใช้งานกลายเป็น  ขยะคอมพิวเตอร์ หรือ ขยะอิเล็กทรอนิกส์
การปฏิรูปการทํางานกับการใช้ข่าวสารบนฐานเทคโนโลยีในอนาคต
1. การปฏิรูปการทํางานกับการใช้ข่าวสารบนฐานเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
        -การปฏิรูปรูปแบบการทํางานขององค์กร เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการปฏิรูปรูปแบบของการทํางาน
        -มีการจัดการเชิงกลยุทธ์ เทคโนโลยีสารสนเทศถูกนํามาใช้ในการสนับสนุนการจัดการเชิงกลยุทธ์ขององค์กรเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน
        -ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการทํางานเพื่อให้การทํางานคล่องตัว
        -การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสร้างคุณค่าให้กับองค์กร
2. การปรับตัวขององค์กรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง
        -ทําความเข้าใจต่อบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจปัจจุบัน
        -วางแผนพัฒนาระบบ สารสนเทศ เพื่อให้การดําเนินการสร้างหรือพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ขององค์กร
        -พัฒนาระบบสารสนเทศเกี่ยวข้องกับการจัดการข้อมูลหรือความรู้ขององค์กร
        -พัฒนาศักยภาพของบุคลากรด์านเทคโนโลยีสารสนเทศ
การปฏิบัติตนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศ
        1. แนวคิดสําคัญในศตวรรษที่ 21 ที่นักศึกษาจําเป็นจะต้องทราบและมีความรู้พื้นฐานเหล่านี้เป็นพื้นฐาน
        2. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม เป็นพื้นฐานที่มีความจําเป็นในการทํางานในอนาคต
        -ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
        -การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ไขปัญหา
        -การสื่อสารและการร่วมมือทํางาน
3. ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี
        -ความรู้พื้นฐ านด้านสารสนเทศ
        -ความรู้พื้นฐานด้านสื่อ
        -ความรู้พื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
4. ทักษะชีวิตและการทํางาน
        -ความยืดหยุ่นและความสามารถในการปรับตัว
        -ความริเริ่มและการชี้นําตนเอง
        -ทักษะทางสังคมและการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม
        -การเพิ่มผลผลิตและความรู้รับผิด
        -ความเป็นผู้นําและความรับผิดชอบ

วันอาทิตย์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2556

บทที่ 5

                           เครื่อข่ายสังคมออนไลน์

 แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์

- ความเป็นมาของเครือข่ายสังคมออนไลน์
  สังคมองการทางสังคมออนไลน์มีการเชื่อมโยงกันเพื่อสร้างเครือข่ายในการตอบสนองความต้องการทางสังคม

 ประเภทของเครือข่ายสังคมออนไลน์

- สร้างและประการตัวตน
- สร้างและประกาศผลงาน
- ความชอบในสิ่งเดียวกัน
- เวทีทำงานร่วมกัน
- ประสบการณ์เหมือนจริง
- เครือข่ายเพื่อการประกอบอาชีพ

 ผู้ให้และผู้ใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์

- Facebook
- Twitter
- Bloggang
- Youtube
- Flickr


บทที่ 6

ฐานข้อมูลและการสืบค้น


- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและการสืบค้น

- ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้น 

- เทคนิคการสืบค้น

-  เลือก Search engine 
- กำหนดขอบเขตคำ
- เลือกใช้คำสำคัญ

- การสืบค้นสารสนเทศมัลติมีเดีย


- แนวโน้มการสืบค้นในอนาคต

วันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2556

บทที่ 8

กฏหมาย จริยธรรม และความปลอดภัยในการใช้เทคโนโลยรสารสนเทศ


 กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ

- พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
- พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
- กฏหมายลิขสิทธิ์ และการใช้งานโดยธรรม

 จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

- จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศต้องอยู่บนพื้นฐาน 4 ประเด็นด้วยกัน
  - ความเป็นส่วนตัว
  - ความถูกต้องแม่นยำ
  - ความเป็นเจ้าของ
  - การเข้าถึงข้อมูล

รูปแบบการกระทำผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550

- การเข้าถึงระบบและข้อมูลคอมพิวเตอร์
- การรบกวนระบบและข้อมูลคอมพิวเตอร์
- การสแปมเมล์
- การใช้โปรแกรมเจาะระบบ
- การโพสต์ข้อมูลเท็จ
- การตัดต่อภาพ

การรักษาความปลอดภัยในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ

- แนวป้องกันภัยจากสปายแวร์
- แนวป้องกันภัยจากสนิฟเฟอร์
-  แนวป้องกันภัยจากฟิชชิ่ง
-  แนวป้องกันภัยจากไวรัสคอมพิวเตอร์
-  แนวป้องกันภัยจากการโจมตีแบบ Dos
-  แนวป้องกันแปมเมล์หรือจดหมายบุกรุก
- การป้องกันภัยจากการเจาะระบบ

แนวโน้มด้านความปลอดภัยในอนาคต

- เกิดข้อบังคับในหลายหน่วยงาน
- ปํญหาความปลอดภัยของข้อมูล
- การออกกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันข้อมูลส่วนบุคคล
- หน่วยงานภาครัฐที่สำคัญเป็นเป้าหมายการโจมตีของแฮคเกอร์
- หนอนอินเตอร์เน็ต
- เป้าหมายการโจมตี VolP
- ภัยจากช่องโหว่
- Network Access control


วันพฤหัสบดีที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2556

บทที่ 7

บทที่ 7 


เทคโนโลยีการจัดการสารสนเทศและองค์ความรู้


 ความหมายและที่มาขององค์ความรู้

- ข้อมูล
- สารสนเทศ
- ความรู้
- ปัญญา

 ความสัมพันธ์ระหว่างระบบสารสนเทศ

- ระบบประมวลรายการ
- ระบบสารสนเทศสำนักงาน
- ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
- ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
- ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร

สถาปันตยกรรมระบบการจัดการความรู้

- บริการโครงสร้างพื้นฐาน
- บริการความรู้
- บริการประสานผู้ใช้กับแหล่งความรู้เหลือแหล่งสารสนเทศ

 รูปแบบของเทคโนโลยีสารสนเทศกับกระบวนการจัดการความรู้

 - เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการรวบรวมและการจัดความรู้ที่ปรากฏ
 - เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในการสร้างความรู้
 - เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเข้าถึงความรู้ที่ปรากฏ
 - เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการประยุกต์ใช้ความรู้
 - เทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนการจัดการความรู้โดยนัย
 - เทคโนโลยีสารสนเทศใช้ในการประมวลความรู้